วันอังคารที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ตั้งค่าอุปกรณ์ UBiQUiTi NanoStation M2 LOCO โหมด AP-WDS ระยะทางสูงสุด 1Km +50Mbps


บทความสำหรับ: ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายในระดับเบื้องต้นถึงปานกลาง (v1.1)
โดย วิทวัส โฉมประเสริฐ, ศุภสิทธิ์ ศิริพานิชกร

คำถาม

1. ถ้าต้องการ รับ-ส่ง โดยใ้ช้อุปกรณ์เครือข่ายไร้สายให้ได้ระยะทาง 0.5-1km โดยได้ความเร็วในการเชื่อมต่อสูงสุด ต้องทำอย่างไรบ้าง?

คำตอบ

อุปกรณ์ รวมสัญญาณไร้สาย แบบติดตั้งภายนอกอาคาร ความเร็วสูง 270 Mbps (MCS15 802.11b/g/n ความถี่ย่าน 2.4 GHz, แบบ 2x2 MIMO Dual-Chain), 2 x เสาอากาศ 8 dBi กำลังส่งสูง 23 dBm (200 mW), รองรับการจ่ายไฟฟ้าผ่านสายแลน PoE (เฉพาะรุ่น POE-24 เท่านั้น), เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อระหว่างอาคารระยะไกล 0.5-1.2 กม
ในโหมดนี้จะเป็นโหมดที่ใช้ NanoStationM2 LOCO 2 ตัวเชื่อมต่อแบบไร้สายหากันโดยใช้โหมด Accesspoint WDS โดยหลักการก็คือ AP1 ต่อฝั่ง Router ไว้ที่ต้นทาง แล้วยิงไปที่ AP2 โดยทั้งสองทำโหมด AP WDS ซึ่งจะำ MAC ADDRESS ของไวเลสมาไข้วเพื่อเชื่อมต่อไร้สายเข้าให้ระบบเน็ตเวิร์คสามารถมองเห็นได้ ซึ่ง AP2 ที่ port lan สามารถต่อเข้า Network ขยายที่ปลายทางและไร้สายทั้ง 2 ยังสามารถกระจากให้เครื่องรับเข้ามาเชื่อมต่อผ่านได้ โดยทั้ง 2 อยู่ในโหมดเดียว


คำนวณระยะทางโดยใช้ AIR LINK


    รูปภาพ



    รูปภาพ




ขั้นตอนการติดตั้ง UBiQUiTi- LOCOM2 AP1 ( จดค่า MAC และเปลี่ยน IP Address ที่ต้องการ )

  1. เชื่อมต่อ PC เข้า NanoStationM2 LOCO AP1 ผ่าน POE ทำการ FIX IP เครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในวง SubNet เดียวกันก่อน

    รูปภาพ
  2. เปิด Web Browser โดย Default IP NanoStationM2 LOCO AP1: 192.168.1.20

    รูปภาพ
  3. รหัสเข้าใช้งานโดยค่าเริ่มต้นจะเป็น
    U:ubnt
    P:ubnt

    รูปภาพ
  4. หน้าเมนูหลักของ NanoStationM2 LOCO AP1
    ทำการจดค่า WLAN MAC ของ NanoStationM2 LOCO AP1 เอาไว้

    รูปภาพ
  5. ตั้งค่าเครือข่าย Network ของอุปกรณ์ให้ตรงกับ SubNet , Gateway ของผู้ใช้งาน ไปที่เมนู
    NETWORK
    Network Mode : Bridge ( กรณีต้องการให้อยู่เป็นวง Network เดียวกัน โดยต้องสอดคล้องกับโหมดที่ให้ตัวอุปกรณ์เป็นเท่านั้น )
    Disable Network : None (ต้องการปิดการใช้งานของส่วนที่ต้องการ)

    Network Settings
    Bridge IP Address : DHCP (รับ IP อัตโนมัติจาก Router) : Static (FIX IP ของผู้ใช้งานเอง)
    IP Address : IP ของอุปกรณ์ NanoStationM2 LOCO AP1
    Netmask : Subnet ตรงกับ Router
    Gateway IP : ระบุไปที่ Router หรือ Gateway ของระบบผู้ใช้งาน
    Primary DNS IP : ระบุไปที่ Router หรือ Gateway หรือ DNS ของ ISP
    Secondary DNS IP : ระบุไปที่ DNS ของ ISP สำรองกรณีหา Primary DNS ไม่เจอ

    รูปภาพ



ขั้นตอนการติดตั้ง UBiQUiTi- LOCOM2 AP2 ( จดค่า MAC และเปลี่ยน IP Address ที่ต้องการ )

  1. เชื่อมต่อ PC เข้า NanoStationM2 LOCO AP2 ผ่าน POE ทำการ FIX IP เครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในวง SubNet เดียวกันก่อน

    รูปภาพ
  2. เปิด Web Browser โดย Default IP NanoStationM2 LOCO AP2: 192.168.1.20

    รูปภาพ
  3. รหัสเข้าใช้งานโดยค่าเริ่มต้นจะเป็น
    U:ubnt
    P:ubnt

    รูปภาพ
  4. หน้าเมนูหลักของ NanoStationM2 LOCO AP2
    ทำการจดค่า WLAN MAC ของ NanoStationM2 LOCO AP2 เอาไว้

    รูปภาพ
  5. ตั้งค่าเครือข่าย Network ของอุปกรณ์ให้ตรงกับ SubNet , Gateway ของผู้ใช้งาน ไปที่เมนู
    NETWORK
    Network Mode : Bridge ( กรณีต้องการให้อยู่เป็นวง Network เดียวกัน โดยต้องสอดคล้องกับโหมดที่ให้ตัวอุปกรณ์เป็นเท่านั้น )
    Disable Network : None (ต้องการปิดการใช้งานของส่วนที่ต้องการ)

    Network Settings
    Bridge IP Address : DHCP (รับ IP อัตโนมัติจาก Router) : Static (FIX IP ของผู้ใช้งานเอง)
    IP Address : IP ของอุปกรณ์ NanoStationM2 LOCO AP2
    Netmask : Subnet ตรงกับ Router
    Gateway IP : ระบุไปที่ Router หรือ Gateway ของระบบผู้ใช้งาน
    Primary DNS IP : ระบุไปที่ Router หรือ Gateway หรือ DNS ของ ISP
    Secondary DNS IP : ระบุไปที่ DNS ของ ISP สำรองกรณีหา Primary DNS ไม่เจอ

    รูปภาพ



ขั้นตอนการติดตั้ง UBiQUiTi- LOCOM2 AP1 และ AP2 โดยนำ ค่า Wireless MAC Address ที่จดมาใส่


AP1

  1. หลังจาก Change และ Apply แล้วต้อง FIX IP เครื่องคอมพิวเตอร์ตามไปใน Subnet ที่เปลี่ยนใหม่ของ NanoStationM2 LOCO AP1

    รูปภาพ
  2. เข้า Web Browser ของ NanoStationM2 LOCO AP1 ที่เปลี่ยนไปใหม่

    รูปภาพ
  3. รหัสเข้าใช้งานโดยค่าเริ่มต้นจะเป็น
    U:ubnt
    P:ubnt

    รูปภาพ
  4. ตั้งค่าโหมด WDS ของ NanoStationM2 LOCO AP1 ไปที่เมนู
    Wireless
    Wireless Mode : Access Point WDS
    WDS Peers : นำค่า WLAN MAC Address ของ NanoStationM2 LOCO AP2 ที่จดไว้มาใส่ , อุปกรณ์ NanoStationM2 LOCO รองรับสูงสุด 6 WDS
    SSID : ชื่อของไร้สายที่ต้องการปล่อยสัญญาณ , Hide SSID : ซ่อนชื่อไร้สาย
    Country Code : ภูมิประเทศที่ใช้งาน ( มีผลในการปรับกำลังส่งของตัวอุปกรณ์)
    IEEE 802.11 Mode : B/G/N รูปแบบความเร็วที่ต้องการ
    Channel Width : 20 หรือ 40 Mhz ความกว้างของช่องสัญญาณ(ตัวรับต้องรองรับด้วยโดยทั่วไปใช้ 20Mhz)
    Channel Shifting : ให้ระบบการใช้งานแบบ point to point หนีสัญญาณที่คนใช้งาน 2.4Ghz สลับช่อสัญญาณที่ 1/2 แทน (ใช้สำหรับ LOCOM2 เชื่อมหากันเท่านั้น)
    Frequency ,Mhz : ช่องความถี่
    Output Power : กำลังส้งของ NanoStationM2 LOCO ควรใส่ไว้พอกับระยะที่ใช้งาน
    MAX TX Rate , Mbps : ความเร็วที่ต้องการใช้งานบนไร้สาย

    Wireless Security ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าได้เลยโดย NanoStationM2 LOCO AP1 และ AP2 ต้องตรงกัน

    รูปภาพ
  5. หลังจากตั้งค่าเสร็จแล้วให้นำ port LAN ของตัว POE เข้า Router ของผู้ใช้งานได้เลย



AP2


  1. หลังจาก Change และ Apply แล้วต้อง FIX IP เครื่องคอมพิวเตอร์ตามไปใน Subnet ที่เปลี่ยนใหม่ของ NanoStationM2 LOCO AP2

    รูปภาพ
  2. เข้า Web Browser ของ NanoStationM2 LOCO AP2 ที่เปลี่ยนไปใหม่

    รูปภาพ
  3. รหัสเข้าใช้งานโดยค่าเริ่มต้นจะเป็น
    U:ubnt
    P:ubnt

    รูปภาพ
  4. ตั้งค่าโหมด WDS ของ NanoStationM2 LOCO AP2 ไปที่เมนู
    Wireless
    Wireless Mode : Access Point WDS
    WDS Peers : นำค่า WLAN MAC Address ของ NanoStationM2 LOCO AP1 ที่จดไว้มาใส่ , อุปกรณ์ NanoStationM2 LOCO รองรับสูงสุด 6 WDS
    SSID : ชื่อของไร้สายที่ต้องการปล่อยสัญญาณ , Hide SSID : ซ่อนชื่อไร้สาย
    Country Code : ภูมิประเทศที่ใช้งาน ( มีผลในการปรับกำลังส่งของตัวอุปกรณ์)
    IEEE 802.11 Mode : B/G/N รูปแบบความเร็วที่ต้องการ
    Channel Width : 20 หรือ 40 Mhz ความกว้างของช่องสัญญาณ(ตัวรับต้องรองรับด้วยโดยทั่วไปใช้ 20Mhz)
    Channel Shifting : ให้ระบบการใช้งานแบบ point to point หนีสัญญาณที่คนใช้งาน 2.4Ghz สลับช่อสัญญาณที่ 1/2 แทน (ใช้สำหรับ LOCOM2 เชื่อมหากันเท่านั้น)
    Frequency ,Mhz : ช่องความถี่
    Output Power : กำลังส้งของ NanoStationM2 LOCO ควรใส่ไว้พอกับระยะที่ใช้งาน
    MAX TX Rate , Mbps : ความเร็วที่ต้องการใช้งานบนไร้สาย

    Wireless Security ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าได้เลยโดย NanoStationM2 LOCO AP1 และ AP2 ต้องตรงกัน

    รูปภาพ
  5. หลังจากตั้งค่าเสร็จแล้วที่ Port LAN สามารถต่อเข้า Switch หรือ PC โดยตรงได้เลย



ขั้นตอนการทดสอบการเชื่อมต่อ UBiQUiTi- LOCOM2 AP1

  1. วิธีการตรวจสอบการเชื่อมต่อของ NanoStationM2 LOCOAP1 ว่าเชื่อมต่อกับ NanoStationM2 LOCO AP2 หรือไม่ไปที่เมนู
    MAIN
    Monitor -> Station จะบอก Node ที่ตั้ง NanoStationM2 LOCOAP1 มีอุปกรณ์ตัวใดเชื่อมต่อเข้ามาอยู่

    รูปภาพ
  2. ทดสอบโดนใช้เครื่องมือของ NanoStationM2 LOCOAP1 ที่มุมขวา

    รูปภาพ


    Speedtest
    เป็นการทดสอบความเร็วจาก NanoStationM2 LOCOAP1 ไปหา NanoStationM2 LOCOAP2 ว่าได้เท่าไร
    IP address : ระบุ IP AP2
    User : ubnt
    Password : ubnt
    Remote Web port : 80
    Run Test

    รูปภาพ


    Ping
    เป็นการทดสอบเรียกผ่านดูการเชื่อมต่อและค่า time เวลาการ ping โดยเรียกไปหา IP address ของ NanoStationM2 LOCOAP2

    รูปภาพ



ขั้นตอนการทดสอบการเชื่อมต่อ UBiQUiTi- LOCOM2 AP2

  1. วิธีการตรวจสอบการเชื่อมต่อของ NanoStationM2 LOCOAP2 ว่าเชื่อมต่อกับ NanoStationM2 LOCO AP1 หรือไม่ไปที่เมนู
    MAIN
    Monitor -> Station จะบอก Node ที่ตั้ง NanoStationM2 LOCOAP2 มีอุปกรณ์ตัวใดเชื่อมต่อเข้ามาอยู่

    รูปภาพ
  2. ทดสอบโดยใช้เครื่องมือของ NanoStationM2 LOCOAP2 ที่มุมขวา

    รูปภาพ


    Speedtest
    เป็นการทดสอบความเร็วจาก NanoStationM2 LOCOAP2 ไปหา NanoStationM2 LOCOAP1 ว่าได้เท่าไร
    IP address : ระบุ IP AP1
    User : ubnt
    Password : ubnt
    Remote Web port : 80
    Run Test

    รูปภาพ


    Ping
    เป็นการทดสอบเรียกผ่านดูการเชื่อมต่อและค่า time เวลาการ ping โดยเรียกไปหา IP address ของ NanoStationM2 LOCOAP1

    รูปภาพ


    ping ไปหาฝั่ง Router ที่ต่อผ่าน NanoStationM2 LOCOAP1 ส่งมาให้

    รูปภาพ

วิธีการติดตั้งอุปกรณ์ UBiQUiTi LOCOM2 AP Mode


บทความสำหรับ: ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายในระดับเบื้องต้นถึงปานกลาง (v1.1)
โดย วิทวัส โฉมประเสริฐ, ศุภสิทธิ์ ศิริพานิชกร

คำถาม

1. ถ้าต้องกระจายสัญญาณไร้สายกับเครื่องรับสัญญาณโดยใช้อุปกรณ์ UBiQUiTi LOCOM2 ต้องทำอย่างไรบ้าง?

คำตอบ
อุปกรณ์ รวมสัญญาณไร้สาย แบบติดตั้งภายนอกอาคาร ความเร็วสูง 270 Mbps (MCS15 802.11b/g/n ความถี่ย่าน 2.4 GHz, แบบ 2x2 MIMO Dual-Chain), 2 x เสาอากาศ 8 dBi กำลังส่งสูง 23 dBm (200 mW), รองรับการจ่ายไฟฟ้าผ่านสายแลน PoE (เฉพาะรุ่น POE-24 เท่านั้น), เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อระหว่างอาคารระยะไกล 0.5-1.2 กม
ปกติผู้ใช้ส่วนมากเด๋วนี้ใช้เครื่องรับที่รองรับความเร็วบน ไร้สายสูงๆ อย่างมาตรฐาน 802.11 N โดยความเร็วมี 2 รูป แบบ 1T1R สูงสุด 150Mbps กับ 2T2R สูงสุด 300Mbps โดยตัวกระจายสัญญาณหรือ Access Point ที่ปล่อยอยู่ต้องรองรับด้วยถึงจะได้ความเร็วบนไร้สายในการเชื่อมต่อข้อมูล ได้เร็วขึ้น โดยตัวอุปกรณ์ที่จะแนะนำเป็นของ UBiQUiTi NanoStation 2 LOCO เป็นตัวรุ่นเล็กที่ออกแบบมาใหม่กว่าตัว NanoStation 2 LOCO ธรรมดาตรงที่รูปแบบการกระจายของ LOCOM2 สามารถกระจายไร้สายแบบ 802.11 B/G/N ได้เลยเพราะตัวของ LOCO2 ได้แค่ 802.11 B/G เท่านั้น ในบทความนี้จะเกี่ยวกับการตั้งค่าในโหมดไร้สายหรือ โหมด Access Point ของ LOCOM2



    รูปภาพ



ขั้นตอนการติดตั้ง UBiQUiTi LOCOM2AP MODE

  1. เชื่อมต่อ PC เข้า NanoStationM2 LOCO ผ่าน POE ทำการ FIX IP เครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในวง SubNet เดียวกันก่อน

    รูปภาพ
  2. เปิด Web Browser โดย Default IP NanoStationM2 LOCO : 192.168.1.20

    รูปภาพ
  3. รหัสเข้าใช้งานโดยค่าเริ่มต้นจะเป็น
    U:ubnt
    P:ubnt

    รูปภาพ
  4. หน้าเมนูหลักของ NanoStationM2 LOCO

    รูปภาพ
  5. ตั้งค่าเครือข่าย Network ของอุปกรณ์ให้ตรงกับ SubNet , Gateway ของผู้ใช้งาน ไปที่เมนู
    NETWORK
    Network Mode : Bridge ( กรณีต้องการให้อยู่เป็นวง Network เดียวกัน โดยต้องสอดคล้องกับโหมดที่ให้ตัวอุปกรณ์เป็นเท่านั้น )
    Disable Network : None (ต้องการปิดการใช้งานของส่วนที่ต้องการ)

    Network Settings
    Bridge IP Address : DHCP (รับ IP อัตโนมัติจาก Router) : Static (FIX IP ของผู้ใช้งานเอง)
    IP Address : IP ของอุปกรณ์ NanoStationM2 LOCO
    Netmask : Subnet ตรงกับ Router
    Gateway IP : ระบุไปที่ Router หรือ Gateway ของระบบผู้ใช้งาน
    Primary DNS IP : ระบุไปที่ Router หรือ Gateway หรือ DNS ของ ISP
    Secondary DNS IP : ระบุไปที่ DNS ของ ISP สำรองกรณีหา Primary DNS ไม่เจอ

    รูปภาพ
  6. หลังจาก Change และ Apply แล้วต้อง FIX IP เครื่องคอมพิวเตอร์ตามไปใน Subnet ที่เปลี่ยนใหม่ของ NanoStationM2 LOCO

    รูปภาพ
  7. เข้า Web Browser ของ NanoStationM2 LOCO ที่เปลี่ยนไปใหม่

    รูปภาพ
  8. รหัสเข้าใช้งานโดยค่าเริ่มต้นจะเป็น
    U:ubnt
    P:ubnt

    รูปภาพ
  9. ตั้งค่าเครือข่ายไร้สาย ไปที่เมนู
    Wireless
    Wireless Mode : Access Point
    SSID : ชื่อของไร้สายที่ต้องการปล่อยสัญญาณ , Hide SSID : ซ่อนชื่อไร้สาย
    Country Code : ภูมิประเทศที่ใช้งาน ( มีผลในการปรับกำลังส่งของตัวอุปกรณ์)
    IEEE 802.11 Mode : B/G/N รูปแบบความเร็วที่ต้องการ
    Channel Width : 20 หรือ 40 Mhz ความกวางของช่องสัญญาณ(ตัวรับต้องรองรับด้วยโดยทั่วไปใช้ 20Mhz)
    Channel Shifting : ให้ระบบการใช้งานแบบ point to point หนีสัญญาณที่คนใช้งาน 2.4Ghz สลับช่อสัญญาณที่ 1/2 แทน (ใช้สำหรับ LOCOM2 เชื่อมหากันเท่านั้น)
    Frequency ,Mhz : ช่องความถี่
    Output Power : กำลังส้งของ NanoStationM2 LOCO ควรใส่ไว้พอกับระยะที่ใช้งาน
    MAX TX Rate , Mbps : ความเร็วที่ต้องการใช้งานบนไร้สาย

    รูปภาพ
  10. ข้อ สำคัญหากต้องการให้ NanoStationM2 LOCO กระจายสัญญาณให้ผู้ใช้งานเข้ามาเชื่อมต่อจะต้อง ปิด AIRMAX ของ NanoStationM2 LOCO เสมอ ไปที่เมนู
    Advanced
    Enable Airmax : ปิด (ให้ผู้ใช้งานผ่านไร้สายเชื่อมต่อกับ NanoStationM2 LOCO ได้) : เปิด (ลดสัญญาณรบกวนใช้เชื่อมต่อกับ NanoStationM2 LOCO ด้วยกันเท่านั้น)

    Distanced : ระยะทางที่ผู้ใช้งานต้องการ

    รูปภาพ
  11. เสร็จสิ้นการตั้งค่า NanoStationM2 LOCO ให้นำช่อง LAN ของ POE ที่เข้าคอมพิวเตอร์อยู่ออกไปต่อกับ Router ในระบบได้เลย


ทดสอบการใช้งาน UBiQUiTi LOCOM2 AP กับเครื่องรับสัญญาณ

  1. เครื่องรับค้นหาสัญญาณไร้สายของ NanoStationM2 LOCO ที่ต้องการเชื่อมต่อ
    Connect

    รูปภาพ
  2. ตรวจสอบเครือข่ายไร้สายของเครื่องรับว่าเชื่อมต่อกับ NanoStationM2 LOCO ได้หรือไม่

    รูปภาพ
  3. ตรวจสอบ Network IP ของตัวรับว่าเมื่อเชื่อมต่อกับ NanoStationM2 LOCO แล้้วได้ IP Address จาก Router มาหรือเปล่า

    รูปภาพ
  4. ทดสอบโดยใช้ Command ของเครื่อง ping ไปหา Network ในระบบแล้วทดสอบการเชื่อมต่อ

    รูปภาพ

ตั้งค่าอุปกรณ์ UBiQUiTi NanoBridge M5 โหมด AP-Station ระยะทางสูงสุด 15KM ความเร็ว 98+ Mbps


บทความสำหรับ: ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายในระดับเบื้องต้นถึงปานกลาง (v1.1)
โดย วิทวัส โฉมประเสริฐ, ศุภสิทธิ์ ศิริพานิชกร

คำถาม

1. ถ้าต้องการ รับ-ส่ง โดยใ้ช้อุปกรณ์เครือข่ายไร้สายให้ได้ระยะทาง 10-15km ต้องทำอย่างไรบ้าง?

คำตอบ

อุปกรณ์ SYS2U OWK-0021 หรือ UBiQUiTi NanoBridge M5 (NB-5G22) อุปกรณ์รวมสัญญาณไร้สาย (ครบชุด) แบบติดตั้งภายนอกอาคาร ความเร็วสูง 270 Mbps (MCS15 802.11a/n ความถี่ย่าน 5.0 GHz, แบบ 2x2 MIMO Dual-Chain), เสาอากาศ 22 dBi แบบจานทึบ (Solid Dish) กำลังส่งสูง 23 dBm (200 mW), รองรับการจ่ายไฟฟ้าผ่านสายแลน PoE (เฉพาะรุ่น POE-24 เท่านั้น), เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อระหว่างอาคารระยะไกล 10.0-15.0 กม
ผู้ใช้สามาร พเลือกปรับโหมดไร้สาย เลือกความถี่ ได้ตามต้องการโดยความสามารถของ NanoBridge M5 (NB-5G22) โดยให้ตัว NanoBridge M5 ที่อยู้ต้นทางเป็นโหมด AP ส่วน NanoBridge M5 ที่ปลายเป็นเป็น Station Bridge ลงมาทำให้ความเร็วและอัตราการหลุดลดลง



    รูปภาพ



ขั้นตอนการติดตั้ง UBiQUiTi NanoBridge M5 AP1( ตั้งค่า IP Address , กระจายสัญญาณเป็น Access Point )

  1. เชื่อมต่อ PC เข้าช่อง LAN ของ POE-15 ส่วนช่อง POE ต่อที่ตัว NanoBridge M5
  2. Static IP ของคอมพิวเตอร์

    รูปภาพ
  3. เปิด WEB Browser พิมพ์ :192.168.1.20 (Default IP NanoBridge M5)

    รูปภาพ
  4. LOGIN
    u:ubnt
    p:ubnt

    รูปภาพ
  5. หน้าเมนูหลักของ NanoBridge M5

    รูปภาพ
  6. ตั้งค่า Network ให้ตรงกับผู้ใช้งานไปที่เมนู
    Network

    รูปภาพ
  7. Static IP ของคอมพิวเตอร์ ให้เป็นวงเดียวกับ NanoBridge M5

    รูปภาพ
  8. เปิด Web Browser พิม IP Address ที่ตั้งค่าใหม่ของ NanoBridge M5

    รูปภาพ
  9. LOGIN
    u:ubnt
    p:ubnt

    รูปภาพ
  10. เข้าเมนู
    Wireless
    Wireless Mode : Access Point
    SSID : AP1 (ชื่อของไร้สาย)
    Output POWER : กำลังส่งสูงสุด
    MAX RATE : ระดับความเร็วในการรับส่งข้อมูล
    Security : ความปลอดภัยบนไร้สาย

    รูปภาพ



ขั้นตอนการติดตั้ง UBiQUiTi - NanoBridge M5 ที่ Station (เปลี่ยน IP Address ที่ต้องการ และตังโหมด Station )


  1. เชื่อมต่อ PC เข้าช่อง LAN ของ POE-15 ส่วนช่อง POE ต่อที่ตัว NanoBridge M5
  2. Static IP ของคอมพิวเตอร์

    รูปภาพ
  3. เปิด WEB Browser พิมพ์ :192.168.1.20 (Default IP NanoBridge M5)

    รูปภาพ
  4. LOGIN
    u:ubnt
    p:ubnt

    รูปภาพ
  5. หน้าเมนูหลักของ NanoBridge M5

    รูปภาพ
  6. ตั้งค่า Network ให้ตรงกับผู้ใช้งานไปที่เมนู
    Network
    ตั้งโหมดเป็น Bridge และเซ็ต IP Address ให้อยู่วงเดียวกับ AP1 ต้นทาง

    รูปภาพ
  7. Static IP ของคอมพิวเตอร์ ให้เป็นวงเดียวกับ NanoBridge M5

    รูปภาพ
  8. เปิด Web Browser พิม IP Address ที่ตั้งค่าใหม่ของ NanoBridge M5

    รูปภาพ
  9. LOGIN
    u:ubnt
    p:ubnt

    รูปภาพ
  10. ไปที่เมนู
    Wireless
    Wireless Mode : Station
    SSID : ชื่อไร้สายที่ต้องการจะไป Bridge มา หากไม่ทราบหรือกลัวไม่ถูกต้อง ให้กด Select เพื่อ SCAN หาไร้สาย
    LOCK AP MOC : ระบุค่า MAC เพื่อเจาะจงกับชื่อไร้สายกรณีเผื่อมีชื่อไร้สายเดียวกันจะได้ไม่ไปเกาะผิดตัว AP
    Output POWER : กำลังไร้สายสูงสุด
    MAX TX RATE : ความเร็วในการส่งข้อมูล
    security : ความปลอดภัยบนไร้สาย

    รูปภาพ



ขั้นตอนการทดสอบการเชื่อมต่อ UBiQUiTi- NanoBridge M5 AP1 และ Station


AP1(Show Station)

แสดงสภานะการเชื่อมต่อของ AP1

รูปภาพ



Station(TEST PING)

แสดงสภานะการเชื่อมต่อของ Station เมื่อเชื่อมต่อกับ AP1 ได้แ้ล้ว และการเกาะได้ความเร็วสูงเท่าไร

รูปภาพ

ทดสอบ ping ไปยังระบบ Network

รูปภาพ