วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556

รวมคำสั่งพื้นฐานสำหรับผู้เริ่มต้นศึกษา Ubuntu

โครงสร้างของระบบ directory ของ Ubuntu

/  หรือ root directory
.../bin    เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บไฟล์คำสั่งทั่วๆไป
.../boot  เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บไฟล์ที่ใช้ในการ boot ระบบของ Ubuntu
.../dev    เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บ device file ที่ใช้สำหรับการอ้างอิงไปยังอุปกรณ์ hardware ต่าง ๆ
.../etc     เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บไฟล์ config ต่าง ๆ
.../home  เป็นไดเร็คทอรี่ home ของ user
.../lib       เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บไฟล์ libary ต่าง ๆ
.../lost+found  เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บ error ทั่วไปเกี่ยวกับ disk
.../media  เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บ device file สำหรับอ้างอิงอุปกรณ์ media
.../proc    เป็นไดเร็คทอที่ใช้เก็บรายละเอียดของ process ต่างๆที่ทำงานอยู่
.../sbin    เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บไฟล์คำสั่งของผู้ดูแลระบบ
.../tmp    เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บไฟล์ชั่วคราว
.../usr     เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้ในการ setup ระบบ
.../var     เป็นไดเร็คทอรี่ที่ใช้เก็บไฟล์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอด เช่น logfile

=====================================================
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไดเร็คทอรี่
- cd (change directory) เป็นคำสั่งที่เปลี่ยนไดเร็คทอรี่
- mkdir (make directoty) เป็นคำสั่งที่ใช้สร้างไดเร็คทอรี่
- pwd (print working directory) เป็นคำสั่งใช้แสดงไดเร็คทอรี่ที่กำลังใช้งานอยู่
- rmdir (remove directory) เป็นคำสั่งที่ใช้ลบไดเร็คทอรี่

ตัวอย่างการใช้งาน

- cd (change directory) เป็นคำสั่งที่เปลี่ยนไดเร็คทอรี่

cd
cd /etc
cd ..
cd -

- mkdir (make directoty) เป็นคำสั่งที่ใช้สร้างไดเร็คทอรี่

mkdir /var/spool/frox
mkdir /cow

- pwd (print working directory) เป็นคำสั่งใช้แสดงไดเร็คทอรี่ที่กำลังใช้งานอยู่

pwd

- rmdir (remove directory) เป็นคำสั่งที่ใช้ลบไดเร็คทอรี่

rmdir /tmp
=====================================================
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์ข้อมูล
- ls (list) เป็นคำสั่งใช้แสดงไฟล์ข้อมูลและไดเร็คทอรี่ย่อย
- cp (copy) เป็นคำสั่งใช้ก๊อปปี้ไฟล์ข้อมูล
- mv (move) เป็นคำสั่งใช้ในการเปลี่ยนชื่อไฟล์ข้อมูล
- rm (remove) เป็นคำสั่งใช้ในการลบไฟล์ข้อมูล
- tar เป็นคำสั่งใช้ backup และ restore ข้อมูลต่าง ๆ

ตัวอย่างการใช้งาน
- ls (list) เป็นคำสั่งใช้แสดงไฟล์ข้อมูลและไดเร็คทอรี่ย่อย

ls
ls -l
ls -lash

- cp (copy) เป็นคำสั่งใช้ก๊อปปี้ไฟล์ข้อมูล

cp config.ini config.ini.backup
cp -R script /tmp/script

- mv (move) เป็นคำสั่งใช้ในการเปลี่ยนชื่อไฟล์ข้อมูล

mv config.ini.backup config.ini.backup2

- rm (remove) เป็นคำสั่งใช้ในการลบไฟล์ข้อมูล

rm config.ini.backup2
rm -Rf /tmp/script

- tar เป็นคำสั่งใช้ backup และ restore ข้อมูลต่าง ๆ

tar cvzf /home/multiwan multiwan.tar.gz
tar xvzf multiwan.tar.gz
 =====================================================
คำสั่งเกี่ยวกับสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล

สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลจะแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ระดับเจ้าของ (Owner) ระดับกลุ่ม (Group) ระดับบุคคลอื่น (Other)

สิทธิ์ในการกระทำกับข้อมูลแบ่งเป็น 3 ระดับคือ อ่าน (Read) เขียน (Write) ประมวลผล (Execute)

คำสั่งที่เกี่ยวข้องในการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์เหล่านี้ได้แก่

- chgrp (change group)
- chown (change owner)
- chmod (change mode)

ตัวอย่างการใช้งาน

- chgrp (change group)

chgrp root /home/multiwan

- chown (change owner)

chown nobody.nogroup /var/spool/frox

- chmod (change mode)

chmod +x makeconfig.sh
 =====================================================

[ข้อมูลดีดีจาก]http://www.hadyaiinternet.com/index.php?topic=1481.0

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น